โครงงานน้ำตะไคร้ from satam14
วิธีสอบให้ได้คะแนนเยอะๆ
จากสุดยอดอาจารย์มหาวิทยาลัยต่างประเทศ
ทบทวนอย่างไรให้เข้าหัว
"วางแผนล่วงหน้า
ฝึกเขียนภายในระยะเวลาที่กำหนด
และลองใช้วิธีทบทวนที่สรุปเนื้อหาอย่างรวดเร็วจะช่วยได้มากเวลาเขียนข้อสอบ
เช่นการฝึกสรุปไอเดียของตัวเองให้สั้นและกระชับเข้าไว้"
-
Victor Tadros, อาจารย์คณะนิติศาสตร์, University of Warwick
"วิธีการเรียนรู้ที่ดีที่สุดคือการพยายามอธิบายให้คนอื่นฟังให้เข้าใจให้ได้
อีกวิธีนึงที่จะทดสอบความเข้าใจของตัวคุณเองก็คือการพยายามสร้างโจทย์ของตัวเองขึ้นมา
แล้วลองแก้โจทย์นั้นเอง"
-
Elena Issoglio, อาจารย์ด้านคณิตศาสตร์การเงิน, University of Leeds
"อย่าแค่เรียนหรืออ่านให้เข้าหัว
แต่ให้พยายามทำความเข้าใจ เพราะถ้าเราเข้าใจแล้ว เราจะไม่ต้องพยายามจดจำมันเลย
แถมยังจะช่วยให้เราไม่ลืมอีกด้วย"
-
Immanuel Halupczok, อาจารย์ด้านคณิตศาสตร์, University of Leeds
ก่อนถึงวันสอบ
"ประมาณ 1
สัปดาห์ก่อนสอบ ลองหาข้อสอบเก่ามาทำโดยมีการจับเวลาเหมือนสอบจริง
จะได้ประเมินตัวเองถูกว่าเราทำได้แค่ไหน"
-
Stephen Griffiths , อาจารย์ด้านคณิตศาสตร์ประยุกต์, University of Leeds
"ตรวจสอบการเขียนของคุณว่าอ่านออกได้ง่ายและชัดเจน!
ทำตัวให้สบายๆ และคิดว่าจะเขียนได้มากแค่ไหนในการสอบ เวลาสอบจะได้ไม่กดดันตัวเอง
และรู้ตัวว่าเขียนมากเพียงพอหรือยัง"
-
Valerie Rumbold, อาจารย์ด้านวรรณกรรมอังกฤษ, University of Birmingham
"ไปถึงห้องสอบให้ทันเวลา ให้เวลาตัวเอง 2-3 นาทีในการผ่อนคลายตัวเองก่อนเริ่มสอบ"
-
Sebastian Mitchell, อาจารย์อาวุโสด้านวรรณกรรมอังกฤษ, University of Birmingham
สอบจริงแล้ว
"เมื่อถึงที่นั่งสอบแล้ว
สูดหายใจเข้าออกลึกๆ 10 ครั้ง และบอกตัวเองว่าการได้เขียนสิ่งที่เราคิดนี่มันช่างมีความสุขเสียนี่กระไร!
แล้วก็เริ่มทำข้อสอบอย่างมั่นใจได้เลย"
-
Valerie Rumbold, อาจารย์ด้านวรรณกรรมอังกฤษ, Birmingham
"กะจังหวะของตัวเองให้ดี
อย่าลืมว่าคะแนน 50% แรกนั้นได้มาง่ายกว่า 10% สุดท้าย การเขียนข้อสอบเยอะๆ นั้นไม่มีค่าหากคุณไม่ได้สังเคราะห์แนวคิดและเพิ่มเติมข้อมูลที่เหนือกว่าคนอื่น"
-
Phil Garnsworthy, หัวหน้าภาควิชาสัตวศาสตร์, University of Nottingham
"ข้อสอบส่วนใหญ่จะมีหลายข้อและให้เลือกทำเพียงข้อใดข้อหนึ่ง
ดังนั้นต้องมั่นใจว่าคุณเลือกคำถามที่เหมาะสมที่คุณมีโอกาสตอบได้มากที่สุด
ซึ่งอาจจะไม่ใช่คำถามที่ง่ายที่สุดเสมอไป อย่าเขียนข้อมูลที่ไม่เกี่ยวข้อง
สิ่งที่อาจารย์ทั้งหลายมองหาคือการนำความรู้มาประยุกต์ใช้ตอบคำถามได้อย่างเฉพาะเจาะจง"
GAT (General Aptitude Test) ความถนัดทั่วไป
ก็ตามชื่อเลยครับ ข้อสอบ GAT หรือข้อสอบความถนัดทั่วไป แบ่งออกเป็นสองส่วนเท่าๆกันคือ
1.GAT เชื่อมโยง
ความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ คะแนนเต็ม 150 คะแนน
2.GAT อังกฤษ
ส่วนของความถนัดด้านภาษาอังกฤษ คะแนนเต็ม 150 คะแนน
PAT (Professional Aptitude Test) ความถนัดทางด้านวิชาชีพและวิชาการ
ข้อสอบในส่วนนี้แต่ละคณะสามารถเลือกได้ว่าจะใช้วิชาไหนในการยื่นคะแนนบ้าง แบ่งออกย่อยๆเป็นข้อสอบทั้งหมด 7 วิชาครับ แต่ละวิชามีคะแนนเต็ม 300 คะแนน ใช้เวลาในการสอบ 3 ชั่วโมงเต็ม ทั้งหมดเป็นข้อสอบที่ยากที่สุดในระบบแอดมิชชันแล้วครับ (ยากกว่านี้ก็คือข้อสอบโอลิมปิก)
PAT1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
PAT2 ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
PAT3 ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
PAT4 ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์
PAT5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
PAT6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์
PAT7 ความถนัดทางภาษาต่างประเทศ (มีแบ่งย่อยเป็น 7.1-7.8 แล้วแต่ว่าจะสอบวิชาภาษาอะไร)
กำหนดการณ์รับสมัคร
สมัครสอบครั้งที่1
>>สมัครทางอินเตอร์เน็ต : วันที่ 10 - 24 สิงหาคม2559
เวลา 9.00 น
โดยทางเว็บสทศจะเปิดให้ลงทะเบียนและสมัครสอบพร้อมเลือกสนามสอบ
ที่เว็บไซต์สถาบันทดสอบเพื่อการศึกษา คลิกที่นี่้
>>ชำระเงิน : วันที่ 10- 30 สิงหาคม 2559
ที่ธนาคารกรุงไทยและเคาเตอร์เชอร์วิส
>>ตรวจสอบการชำระเงิน : วันที่ 10 -31 สิงหาคม 2559
>>ตรวจสอบและแก้ไขข้อมูล : วันที่ 10 สิงหาคม - 2 กันยายน 2559
>>ประกาศเลขที่นั่งสอบ : วันที่ 20 กันยายน 2559
>>สอบคัดเลือกครั้งที่ 1
สมัครสอบครั้งที่1
>>สมัครทางอินเตอร์เน็ต : วันที่ 10 - 24 สิงหาคม2559
เวลา 9.00 น
โดยทางเว็บสทศจะเปิดให้ลงทะเบียนและสมัครสอบพร้อมเลือกสนามสอบ
ที่เว็บไซต์สถาบันทดสอบเพื่อการศึกษา คลิกที่นี่้
>>ชำระเงิน : วันที่ 10- 30 สิงหาคม 2559
ที่ธนาคารกรุงไทยและเคาเตอร์เชอร์วิส
>>ตรวจสอบการชำระเงิน : วันที่ 10 -31 สิงหาคม 2559
>>ตรวจสอบและแก้ไขข้อมูล : วันที่ 10 สิงหาคม - 2 กันยายน 2559
>>ประกาศเลขที่นั่งสอบ : วันที่ 20 กันยายน 2559
>>สอบคัดเลือกครั้งที่ 1
>>ประกาศผลสอบ : วันที่ 15 ธันวาคม 2559
สมัครสอบครั้งที่ 2
>>สมัครทางอินเตอร์เน็ต : วันที่ 7 - 26 ธันวาคม 2559
เวลา9.00 น
โดยทางเว็บสทศจะเปิดให้ลงทะเบียนและสมัครสอบพร้อมเลือกสนามสอบ
ที่เว็บไซต์สถาบันทดสอบเพื่อการศึกษา คลิกที่นี่้
>>ชำระเงิน : วันที่ 7 - 30 ธันวาคม 2559
ที่ธนาคารกรุงไทยและเคาเตอร์เชอร์วิส
>>ตรวจสอบการชำระเงิน : วันที่ 7 - 30 ธันวาคม 2559
>>ตรวจสอบและแก้ไขข้อมูล : วันที่ 7 - 30 ธันวาคม 2559
>>ประกาศเลขที่นั่งสอบ : วันที่ 24 มกราคม 2559
>>สอบคัดเลือกครั้งที่2
>>ประกาศผลสอบ : วันที่ 20 เมษายน 2559
ข้อสอบพร้อมเฉลย GAT/PAT ครั้งที่ 1 ปีการศึกษา 2552
ข้อสอบพร้อมเฉลย GAT/PAT ครั้งที่ 2 ปีการศึกษา 2552
ข้อสอบพร้อมเฉลย GAT/PAT ครั้งที่ 3 ปีการศึกษา 2552
ข้อสอบพร้อมเฉลย GAT/PAT ครั้งที่ 1 ปีการศึกษา 2553
ข้อสอบพร้อมเฉลย GAT/PAT ครั้งที่ 2 ปีการศึกษา 2553
ข้อสอบพร้อมเฉลย GAT/PAT ครั้งที่ 3 ปีการศึกษา 2553
ข้อสอบพร้อมเฉลย GAT/PAT ครั้งที่ 1 ปีการศึกษา 2554
ข้อสอบ PAT ครั้งที่ 1 ปีการศึกษา 2555
ข้อสอบ PAT ครั้งที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ข้อสอบ PAT ครั้งที่ 2 ปีการศึกษา 2556
ข้อสอบ PAT1 ครั้งที่ 1 ปีการศึกษา 2557
ข้อสอบ PAT1 เม.ย. 2557

ข้อสอบ PAT1 พ.ย. 2557

ข้อสอบ PAT1 มี.ค. 2558

ADMISSION
หรือที่ภาษาไทยเรียกกันว่าแอดมิชชั่น คือระบบการคัดเลือกบุคคลที่อยากจะเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งถูกนำมาใช้จริงครั้งแรกในปี ๒๕๔๘ แทนการสอบเอนทรานซ์ในระบบเดิม ซึ่งในระบบใหม่นี้คะแนนของผู้ที่จะถูกคัดเลือกเข้าสู่สถาบันอุดมศึกษาจะไม่ได้มาจากการสอบเพียงอย่างเดียวทั้งหมดเท่านั้น แต่ยังมีคะแนนบางส่วนจากเกรดเฉลี่ยของที่โรงเรียนมาเป็นส่วนหนึ่งในการพิจารณาเข้าศึกษาต่อด้วย
การสอบ O – NET (Ordinary National Educational Test)
O – NET คือ แบบสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน เป็นการวัดผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำหรับในช่วงชั้นที่ 4 จัดสอบ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่
1 ภาษาไทย
2 คณิตศาสตร์
3 วิทยาศาสตร์
4 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
5 ภาษาค่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
1 ภาษาไทย
2 คณิตศาสตร์
3 วิทยาศาสตร์
4 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
5 ภาษาค่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
ลักษณะข้อสอบแ ละการประเมินผล O – NETประกอบด้วย
1. แบบทดสอบจะมีทั้งปรนัย และอัตนัย ในอัตราส่วนระหว่าง 80% – 90% : 10% – 20% ข้อสอบแบบปรนัยจะเป็นข้อสอบแบบ 4 ตัวเลือก สำหรับข้อสอบอัตนัยจะเป็นข้อสอบแบบเขียนคำตอบสั้นๆ (Short Answer)
2. เวลาในการทำข้อสอบวิชาละ 2 ชั่วโมง
3. ข้อสอบแต่ละข้อ คะแนนอาจจะไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับความยากง่ายของข้อสอบ
4. ข้อสอบครอบคลุมสาระและทักษะสำคัญของ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้
การสอบเป็นบริการของรัฐให้แก่นักเรียนทุกคนโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใด ๆ
2. เวลาในการทำข้อสอบวิชาละ 2 ชั่วโมง
3. ข้อสอบแต่ละข้อ คะแนนอาจจะไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับความยากง่ายของข้อสอบ
4. ข้อสอบครอบคลุมสาระและทักษะสำคัญของ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้
การสอบเป็นบริการของรัฐให้แก่นักเรียนทุกคนโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใด ๆ
การสอบ A – NET (Advanced National Educational Test)
A – NET คือ แบบสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นสูง เป็นการวัดความรู้และ ความคิดวิเคราะห์ ซึ่งจะเป็นการวัดความรู้เชิง สังเคราะห์ โดยเน้นทักษะการคิดมากกว่า O-NET ประกอบด้วย
1 ภาษาไทย 2
2 คณิตศาสตร์ 2
3 วิทยาศาสตร์ 2
4 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 2
5 ภาษาอังกฤษ 2
2 คณิตศาสตร์ 2
3 วิทยาศาสตร์ 2
4 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 2
5 ภาษาอังกฤษ 2
ลักษณะข้อสอบและการประเมินผล A – NET ประกอบด้วย
1. แบบทดสอบจะมีทั้งปรนัย และอัตนัย ในอัตราส่วนระหว่าง 60% – 80% : 40% – 20% ข้อสอบแบบปรนัยจะเป็นข้อสอบแบบ 4 ตัวเลือก สำหรับข้อสอบอัตนัยจะเป็นข้อสอบแบบเขียนคำตอบสั้นๆ (Short Answer)
2. เวลาในการทำข้อสอบวิชาละ 2 ชั่วโมง ยกเว้นวิชาวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยเนื้อหาด้าน เคมี ฟิสิกส์ ชีววิทยา อยู่ในฉบับเดียวกัน ที่ใช้เวลาในการสอบ 3 ชั่วโมง และจะแสดงผลการทดสอบทั้งรวมและแยก
3.ข้อสอบแต่ละข้อ คะแนนอาจจะไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับความยากง่ายของข้อสอบ
2. เวลาในการทำข้อสอบวิชาละ 2 ชั่วโมง ยกเว้นวิชาวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยเนื้อหาด้าน เคมี ฟิสิกส์ ชีววิทยา อยู่ในฉบับเดียวกัน ที่ใช้เวลาในการสอบ 3 ชั่วโมง และจะแสดงผลการทดสอบทั้งรวมและแยก
3.ข้อสอบแต่ละข้อ คะแนนอาจจะไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับความยากง่ายของข้อสอบ
GPAX
หรือถ้าจะเรียกให้เข้าใจง่ายๆก็คือเกรดเฉเลี่ยสะสมของน้องๆนั่นแหละ ซึ่งไม่ว่าจะเข้าคณะไหนก็ตาม GPAX จะมีผลต่อคะแนนรวมถึง 10% เพราะฉะนั้นก็ตั้งใจเรียนในห้องเรียนให้มากๆ(ในทุกวิชา)ด้วยหล่ะ เพราะถ้าไม่ตั้งใจเรียนในห้อง นอกจากจะเกรดตกแล้ว คะแนน GPAX 10% ก็จะลดลงไปด้วย
วิธีการคิดคะแนน
1. เมื่อมีการตรวจกระดาษคำตอบมีวิธีการวิเคราะห์ข้อสอบทุกข้อเพื่อหาคุณภาพขอข้อสอบ ถ้าข้อสอบข้อใดไม่มีคุณภาพตามเกณฑ์ ไม่สามารถวัดหรือจำแนกได้ ข้อสอบข้อนั้นจะไม่นำมาคิดคะแนน ดังนั้นคะแนนที่ได้จะเป็นคะแนนสอบที่ได้มาจากข้อสอบที่มีคุณภาพทุกข้อ
2 คะแนนผลการสอบจะแปลงคะแนนเป็นคะแนนมาตรฐานรายวิชา
2 คะแนนผลการสอบจะแปลงคะแนนเป็นคะแนนมาตรฐานรายวิชา
ระยะเวลาและจำนวนครั้งที่จัดสอบ
O-NET จะจัดสอบเพียงครั้งเดียวเมื่อผู้เรียนสำเร็จการศึกาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานเรียยร้องแล้ว โดยจะจัดสอบในช่วงปลายเดือนกุมภาพันธ์ต่อเนื่องกับเดือนมีนาคม ของทุกปี
A-NET ในระยะแรกอาจจัดสอบเพียงครั้งเดียว โดยจัดสอบ ต่อจากการสอบ O-NET แต่ในอนาคตอาจจัดสอบได้มากกว่า 1 ครั้ง
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
เพลินใจ ฝึกสมอง ต้องเล่นเกมของ TLC
o-net ม.6
ทาง 02dual.com ได้ทำการรวมข้อสอบ onet ตั้งแต่ปีการศึกษา 48, 49, 50, 51, 52, 53, 54
มาเพื่อการทบทวน และ สะดวกต่อการค้นหา
ข้อสอบ O-net 49 ม.6 (ปีการศึกษา 2548)พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O-net 50 ม.6 (ปีการศึกษา 2549)พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O-net 51 ม.6 (ปีการศึกษา 2550)พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O-net 52 ม.6 (ปีการศึกษา 2551)พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O-net 53 ม.6 ( ปีการศึกษา 2552)พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O-net 54 ม.6 (ปีการศึกษา 2553) พร้อมเฉลย สอบเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2554
ข้อสอบ O-net ม.6 (ปีการศึกษา 2558) พร้อมเฉลย สอบเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2559
Entrance
2543-2548
2543-2548
ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย วิชาคณิตศาสตร์1 2543-2548
วิชาคณิตศาสตร์1ต.ค.44
วิชาคณิตศาสตร์1ต.ค.45
วิชาคณิตศาสตร์1ต.ค.46
วิชาคณิตศาสตร์1ต.ค.47
วิชาคณิตศาสตร์1มี.ค.43
วิชาคณิตศาสตร์1มี.ค.44
วิชาคณิตศาสตร์1มี.ค.45
วิชาคณิตศาสตร์1มี.ค.46
วิชาคณิตศาสตร์1มี.ค.47
วิชาคณิตศาสตร์1มี.ค.48
ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย วิชาคณิตศาสตร์2 2543-2548
วิชาคณิตศาสตร์2ต.ค.44
วิชาคณิตศาสตร์2ต.ค.45
วิชาคณิตศาสตร์2ต.ค.46
วิชาคณิตศาสตร์2ต.ค.47
วิชาคณิตศาสตร์2มี.ค.43
วิชาคณิตศาสตร์2มี.ค.44
วิชาคณิตศาสตร์2มี.ค.45
วิชาคณิตศาสตร์2มี.ค.46
วิชาคณิตศาสตร์2มี.ค.47
วิชาคณิตศาสตร์2มี.ค.48
ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย วิชาเคมี 2543-2548
วิชาเคมีต.ค.44
วิชาเคมีต.ค.45
วิชาเคมีต.ค.47
วิชาเคมีมี.ค.43
วิชาเคมีมี.ค.44
วิชาเคมีมี.ค.45
วิชาเคมีมี.ค.46
วิชาเคมีมี.ค.47
วิชาเคมีมี.ค.48
ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย วิชาชีววิทยา 2543-2548
วิชาชีววิทยา ต.ค.44
วิชาชีววิทยา ต.ค.45
วิชาชีววิทยา ต.ค.46
วิชาชีววิทยา ต.ค.47
วิชาชีววิทยา มี.ค.43
วิชาชีววิทยา มี.ค.44
วิชาชีววิทยา มี.ค.45
วิชาชีววิทยา มี.ค.46
วิชาชีววิทยา มี.ค.47
วิชาชีววิทยา มี.ค.48
ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย วิชาฟิสิกส์ 2543-2548
วิชาฟิสิกส์ต.ค.45
วิชาฟิสิกส์ต.ค.46
วิชาฟิสิกส์ต.ค.47
วิชาฟิสิกส์มี.ค.43
วิชาฟิสิกส์มี.ค.44
วิชาฟิสิกส์มี.ค.45
วิชาฟิสิกส์มี.ค.46
วิชาฟิสิกส์มี.ค.47
วิชาฟิสิกส์มี.ค.48
ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย วิชาภาษาไทย 2543-2548
วิชาภาษาไทยต.ค.44
วิชาภาษาไทยต.ค.45
วิชาภาษาไทยต.ค.46
วิชาภาษาไทยต.ค.47
วิชาภาษาไทยมี.ค.43
วิชาภาษาไทยมี.ค.44
วิชาภาษาไทยมี.ค.45
วิชาภาษาไทยมี.ค.46
วิชาภาษาไทยมี.ค.47
วิชาภาษาไทยมี.ค.48
ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย วิชาภาษาอังกฤษ 2543-2548
วิชาภาษาอังกฤษต.ค.44
วิชาภาษาอังกฤษต.ค.45
วิชาภาษาอังกฤษต.ค.46
วิชาภาษาอังกฤษต.ค.47
วิชาภาษาอังกฤษมี.ค.43
วิชาภาษาอังกฤษมี.ค.44
วิชาภาษาอังกฤษมี.ค.45
วิชาภาษาอังกฤษมี.ค.46
วิชาภาษาอังกฤษมี.ค.47
วิชาภาษาอังกฤษมี.ค.48
ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย วิชาวิทยาศาสตร์กายฯ 2543-2548
วิทยาศาสตร์กายฯ ต.ค.44
วิทยาศาสตร์กายฯ ต.ค.45
วิทยาศาสตร์กายฯ ต.ค.46
วิทยาศาสตร์กายฯ มี.ค.43
วิทยาศาสตร์กายฯ มี.ค.44
วิทยาศาสตร์กายฯ มี.ค.45
วิทยาศาสตร์กายฯ มี.ค.46
วิทยาศาสตร์กายฯ มี.ค.47
ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย วิชาสังคมศึกษา 2543-2548
วิชาสังคมศึกษาต.ค.44
วิชาสังคมศึกษาต.ค.45
วิชาสังคมศึกษาต.ค.46
วิชาสังคมศึกษาต.ค.47
วิชาสังคมศึกษามี.ค.43
วิชาสังคมศึกษามี.ค.44
วิชาสังคมศึกษามี.ค.45
วิชาสังคมศึกษามี.ค.46
วิชาสังคมศึกษามี.ค.47
วิชาสังคมศึกษามี.ค.48
เฉลยข้อสอบ
ที่มา :